Portfolio in course Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 Academic year 2013.
วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 18 (เรียนชดเชย)
29 กันยายน 2556
กิจกรรมการเรียนการสอน
องค์ความรู้ทีได้รับ
- นำเสนอการทดลอง
- ส่งชิ้นงานทุกชิ้น ได้แก่
1. สื่อเข้ามุมวิทยาศาสตร์
2. ของเล่นวิทยาศาสตร์
การประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์ "รถพลังลม"
วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 16
18 กันยายน 2556
กิจกรรมการเรียนการสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นการลงมือปฏิบัติจริงในการทำไข่ตุ๋น กิจกรรม cooking หลังจากที่ได้เขียนแผนการจัดประสบการณ์ไปแล้ว เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2556
ขั้นตอนการจัดประสบการณ์ cooking .. ไข่ตุ๋นแฟนซี
1. ครูจัดเด็กนั่งเป็นครึ่งวงกลม แล้วนำอุปกรณ์ที่จะทำกิจกรรม cooking ในวันนี้วางไว้ข้างหน้า
2. ครูเสริมแรงเด็กโดยการใช้คำถาม เช่น
- "เด็กเห็นไหมคะว่าวันนี้คุณครูมีอะไรมา??"
- "เด็กๆคิดว่าวันนี้คุณครูจะทำกิจกรรมอะไร จากอุปกรณ์ที่เด็กๆเห็นอยู่ค่ะ"
- " เด็กเคยทานไข่ตุ๋นไหมค่ะ ไข่ตุ๋นเป็นยังไง "
3. ครูเริ่มแนะนำอุปกรณ์และวัตถุดิบที่เตรียมมาให้เด็กๆได้ทราบ
4. ครูให้เด็กอาสาสมัครออกมาหั่นผัก ได้แก่ ผักชี ต้นหอม และแครอต
6. นำถ้วยไข่ตุ๋นใส่ในหม้อนึ่ง รอประมาณ 15-20 นาที ระหว่างการรอไข่ตุ๋นสุกนั้นครูและเด็กๆร่วมกันสนทนาถึงการทำไข่ตุ๋นครั้งนี้
7. ว๊าววว...!!! ไข่ตุ๋นฝีมือเด็กๆเสร็จแล้ว น่าทานจริงๆเลยค่ะ ^^
ทักษะที่ได้รับ
1. ทักษะการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย
2. ทักษะการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการประกอบอาหาร
การนำไปประยุกต์ใช้
1. การจัดกิจกรรม cooking ให้กับเด็กปฐมวัย
2. การบูรณาการวิทยาศาสตร์ให้เข้ากับกิจกรรมประจำวัน
กิจกรรมการเรียนการสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นการลงมือปฏิบัติจริงในการทำไข่ตุ๋น กิจกรรม cooking หลังจากที่ได้เขียนแผนการจัดประสบการณ์ไปแล้ว เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2556
ขั้นตอนการจัดประสบการณ์ cooking .. ไข่ตุ๋นแฟนซี
1. ครูจัดเด็กนั่งเป็นครึ่งวงกลม แล้วนำอุปกรณ์ที่จะทำกิจกรรม cooking ในวันนี้วางไว้ข้างหน้า
2. ครูเสริมแรงเด็กโดยการใช้คำถาม เช่น
- "เด็กเห็นไหมคะว่าวันนี้คุณครูมีอะไรมา??"
- "เด็กๆคิดว่าวันนี้คุณครูจะทำกิจกรรมอะไร จากอุปกรณ์ที่เด็กๆเห็นอยู่ค่ะ"
- " เด็กเคยทานไข่ตุ๋นไหมค่ะ ไข่ตุ๋นเป็นยังไง "
3. ครูเริ่มแนะนำอุปกรณ์และวัตถุดิบที่เตรียมมาให้เด็กๆได้ทราบ
4. ครูให้เด็กอาสาสมัครออกมาหั่นผัก ได้แก่ ผักชี ต้นหอม และแครอต
5. เด็กๆลงมือในการทำไข่ตุ๋น โดยการตีไข่ให้เข้ากัน ใส่แครอท ผักชี ต้นหอมและปูอัดลงในถ้วย
และใส่ซีอิ๊วขาวเพิ่มความอร่อย ^^
7. ว๊าววว...!!! ไข่ตุ๋นฝีมือเด็กๆเสร็จแล้ว น่าทานจริงๆเลยค่ะ ^^
1. ทักษะการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย
2. ทักษะการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการประกอบอาหาร
การนำไปประยุกต์ใช้
1. การจัดกิจกรรม cooking ให้กับเด็กปฐมวัย
2. การบูรณาการวิทยาศาสตร์ให้เข้ากับกิจกรรมประจำวัน
วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 15 (เรียนชดเชย)
15 กันยายน 2556
กิจกรรมการเรียน การสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
- ผู้สอนได้ให้คำแนะนำในการปรับปรุวแก้ไข blogger ของนักศึกษาแต่ละคน
- ทำกิจกรรมกลุ่ม "เขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์ในการทำอาหารสำหรับเด็ก"
กิจกรรมการเรียน การสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
- ผู้สอนได้ให้คำแนะนำในการปรับปรุวแก้ไข blogger ของนักศึกษาแต่ละคน
- ทำกิจกรรมกลุ่ม "เขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์ในการทำอาหารสำหรับเด็ก"
ภาพ
การรวมกลุ่มการทำกิจกรรม "เขียนแผนการทำอาหาร"
ภาพ
การนำเสนออาหารที่จะเขียนแผนการสอน "ข้าวผัด U.S.A"
ทักษะที่ได้รับ
1. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ในสิ่งที่เด็กอยากรู้
2. ได้รับฟังและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่นๆ
การนำไปประยุกต์ใช้
1. การจัดประสบการณ์การทำอาหารให้กับเด็กปฐมวัย
2. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ไว้ล่วงหน้าก่อนการสอนจะเป็นผลดีแก่ครูและนักเรียน
วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 14
11 กันยายน 2556
กิจกรรมการเรียน การสอน
กิจกรรมการเรียน การสอน
*ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากผู้สอนติดภาระกิจทางราชการต่างจังหวัด*
หมายเหตุ
*ได้มอบหมายให้เตรียมเอกสารที่ไปศึกษาดูงานมาแล้วให้เรียบร้อย*
วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556
การเข้าเรียน ครั้งที่ 12
28 สิงหาคม 2556
* ศึกษาดูงาน 27-28 สิงหาคม 2556*
ณ สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์
วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 11
21 สิงหาคม 2556
*ไม่มีการเรียน การสอน เนื่องจากผู้สอนได้มอบหมายให้ทำงาน ดังนี้
1. ทำการทดลองวิทยาศษสตร์
2. ประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์
3. ทำว่าวใบไม้
*กิจกรรมทุกชิ้น ต้องมีภาพถ่ายลงบล็อก*
4. ศึกษาหาข้อมูลโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา เพื่อที่จะเดินทางไปศึกษาดูงาน ในวันที่ 27-28 สิงหาคม 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 10
14 สิงหาคม 2556
อาจารย์เข้าสอน 08:50 น.
นักศึกษาเข้าเรียน 08:25 น.
กิจกรรมการเรียน การสอน
- นัดหมายการไปศึกษาดูงาน ที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และโรงเรียนลำปลาบมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์ ในวันที่ 27 - 28 สิงหาคม 2556
- ตรวจบล็อก พร้อมให้คำแนะนำ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์
- แจกแจงหน้าที่ในการไปศึกษาดูงาน
อาจารย์เข้าสอน 08:50 น.
นักศึกษาเข้าเรียน 08:25 น.
กิจกรรมการเรียน การสอน
- นัดหมายการไปศึกษาดูงาน ที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และโรงเรียนลำปลาบมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์ ในวันที่ 27 - 28 สิงหาคม 2556
- ตรวจบล็อก พร้อมให้คำแนะนำ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์
- แจกแจงหน้าที่ในการไปศึกษาดูงาน
วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2556
การเข้าอบมรม
โครงการ "การจัดการศึกษาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต"
วันอังคาร ที่ 13 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 - 16:30 น.
วันอังคาร ที่ 13 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 - 16:30 น.
วันอังคารที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 9
7 กรกฎาคม 2556
เนื่องในวันฮารีรายอ อีดิ้ลฟิตรี (วันตรุษของศาสนาอิสลาม)
*การเรียนในวันนี้ ข้าพเจ้าขอลากิจ
เนื่องจากเดินทางกลับบ้านเพื่อประกอบพิธีทางศาสนาอิสลาม*
เนื่องในวันฮารีรายอ อีดิ้ลฟิตรี (วันตรุษของศาสนาอิสลาม)
วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 7
24 กรกฎาคม 2556
อาจารย์เข้าสอน : 09:00 น. หมายเหตุ >> เนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจราชการอยู่ที่ห้องประชุม
นักศึกษาเข้าเรยีน : 08:25 น.
กิจกรรมการเรียน การสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
5 ลักษณะของ Project Approach
อาจารย์เข้าสอน : 09:00 น. หมายเหตุ >> เนื่องจากอาจารย์ติดภาระกิจราชการอยู่ที่ห้องประชุม
นักศึกษาเข้าเรยีน : 08:25 น.
กิจกรรมการเรียน การสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. กระบวนการเบื้องต้น
- การวัด ต้องมีเครื่องมือในการวัด ถ้าพูดถึงการวัดจะนึกถึง จำนวน, ปริมาณ,ตัวเลข
- การจำแนก ต้องตั้งเกณฑ์ EX. ผมสั้น = เท่าติ่งหู แต่ถ้า ผมยาว = เลยบ่าลงมา
- หาความสัมพันธ์ มิติ + เวลา
- ใช้ภาษาในการสื่อความหมาาย
- การคำนวน EX. กี่วันถั่วงอกจะโต
- การพยากรณ์ คือการคาดเดา
2. กระบวนการผสม
- ตั้งสมมติฐาน คือการกำหนดประเด็นปัญหา (การคาดเดา)
- ลงมือปฏิบัติ
- ควบคุมตัวแปร คือการกำหนดสิ่งที่จะมีผลต่อการทดลอง
- การทดลอง
- ตีความ , สรุป
3. วิธีการจัด
1. จัดเป็นทางการ
- กำหนดจุดมุ่งหมาย
2. จัดไม่เป็นทางการ เช่น
- มุมวิทยาศาสตร์
- สภาพแวดล้อมที่ครูเตรียม
3. จัดตามเหตุการณ์
- ธรรมชาติ
- สิ่งที่พบเห็น
4. วิธีการเลือกใช้สื่อ
1. การเลือก
- เหมาะสมกับหน่วย
- เหมาะกับพัฒนาการ
- เวลาและสถานที่
- กิจกรรม
2. เตรียมอุปกรณ์และทดลองใช้
ดูโทรทัศน์ครู เรื่อง Project Approach การสอนแบบโครงการปฐมวัย
Project Approach คือ การศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างลุ่มลึก |
5 ลักษณะของ Project Approach
1. การอภิปราย
2. การนำเสนอประสบการณ์เดิม
3. การทำงานภาคสนาม (ศึกษาจากแหล่งข้อมูลจริง)
4. การสืบค้น
5. การจัดแสดง
วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
การเข้าเรียน ครั้งที่ 6
17 กรกฎาคม 2556
หมายเหตุ เนื่องจากวันนี้อาจารย์ผู้สอนติดภาระกิจ จึงไม่มีการเรียนการสอน แต่อาจารย์ผู้สอนได้มอบหมายงานไว้ คือ ให้คิดการทดลองวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และ สื่อวิทยาศาตร์ที่ไว้ในมุมเสริมประสบการณ์
การทดลอง
หมายเหตุ เนื่องจากวันนี้อาจารย์ผู้สอนติดภาระกิจ จึงไม่มีการเรียนการสอน แต่อาจารย์ผู้สอนได้มอบหมายงานไว้ คือ ให้คิดการทดลองวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และ สื่อวิทยาศาตร์ที่ไว้ในมุมเสริมประสบการณ์
การทดลอง
เปลวไปลอยน้ำ
อุปกรณ์ในการทดลอง
1. เทียนไข
2. แก้วทรงสูงใส่น้ำ (ต้องสูงกว่าความยาวของแท่งเทียน)
3. หมุดหัวหมวกหรือตะปูเกลียวตัวเล็ก
วิธีการทดลอง
1. เติมน้ำลงในแก้ว 5/6 แก้ว
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานของเทียนไข (ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำแล้วจุดเทียน
หลักการทางวิทยาศาสตร์
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวกทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางของแท่งเทียน เทียนจึงไม่เองคว่ำ
ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นของปิโตรเลียมที่มีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง มีจุดหลอมเหลวอยู่ที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนได้ดี ไม่ละลายน้ำ
....................................................................................................................................................
สื่อไว้ในมุมเสริมประสบการณ์
อุปกรณ์
2. นำหมุดมาปักลงที่ฐานของเทียนไข (ด้านป้าน)
3. นำแท่งเทียนใส่ลงไปในแก้วน้ำแล้วจุดเทียน
หลักการทางวิทยาศาสตร์
เทียนไขลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้และไฟก็จะไม่ดับ เพราะเทียนทำจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงไม่เปียกน้ำ และหมุดหัวหมวกทำหน้าที่เป็นจุดรวมน้ำหนักให้อยู่ที่แกนกลางของแท่งเทียน เทียนจึงไม่เองคว่ำ
ขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นของปิโตรเลียมที่มีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติ คล้ายกับขี้ผึ้ง มีจุดหลอมเหลวอยู่ที่ 47-64 องศาเซลเซียส ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินบริสุทธิ์จะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนได้ดี ไม่ละลายน้ำ
....................................................................................................................................................
สื่อไว้ในมุมเสริมประสบการณ์
เลี้ยงแมลง
อุปกรณ์
1. ทรายแห้ง 2 ถ้วยตวง
2. ขวดปากกว้างขนาด 4 ลิตร
3. แกนกระดาษทิชชู
4. กรรไกร
2. ขวดปากกว้างขนาด 4 ลิตร
3. แกนกระดาษทิชชู
4. กรรไกร
5. ฟองน้ำล้างจาน
6. ฝาขวดอันเล็ก
6. ฝาขวดอันเล็ก
7. น้ำ
8. กิ่งไม้ขนาดที่ใส่ในขวดได้พอดี 2-3 กิ่ง
9. ขนมปังอบแห้ง 1 ชิ้น
10. แอปเปิ้ลสด 2 ชิ้น
11. จิ้งหรีด 5-6 ตัว
12. ถุงเท้ายาวถึงเข่า 1 ข้าง
8. กิ่งไม้ขนาดที่ใส่ในขวดได้พอดี 2-3 กิ่ง
9. ขนมปังอบแห้ง 1 ชิ้น
10. แอปเปิ้ลสด 2 ชิ้น
11. จิ้งหรีด 5-6 ตัว
12. ถุงเท้ายาวถึงเข่า 1 ข้าง
วิธีการทำ
1. เททรายใส่ขวด
3. ขั้นตอนนี้ต้องมีครูคอยแนะนำ หรือเป็นผู้ช่วยให้กับเด็ก ตัดฟองน้ำเป็นชิ้นวงกลมขนาดพอดีกับด้านในของฝาขวด ดังรูป
4. เอาฟองน้ำชุบน้ำ แล้วใส่ไว้ในฝาขวด เอาฝาวางไว้ในขวด จิ้งหรีดจะกินน้ำจากฟองน้ำนี้ ดังนั้นระหว่างที่เลี้ยงจิ้งหรีดไว้ในขวดระวังอย่าให้น้ำแห้ง
6. ใส่ขนมปังอบแห้งกับชิ้นแอปเปิ้ลไว้ในขวดให้จิ้งหรีดกินเป็นอาหาร พอหมดแล้วก็ค่อยเติมให้
7. ใสจิ้งหรีดลงในขวดแล้วก็รีบใช้ถุงเท้ายาวปิดปากขวดทันที ถุงเท้าสามารถระบายอากาศให้เข้าออกได้ และกันไม่ให้จิ้งหรีดหนีออกจากขวด ดังรูป
8. หมั่นสังเกตดูจิ้งหรีดให้บ่อยที่สุด จากนั้น 1-2 สัปดาห์จึงปล่อยมันออกสู่ธรรมชาติ
ใช้กับเด็กปฐมวัยโดย....
ใช้กับเด็กปฐมวัยโดย....
วันพุธที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
การเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 5
10 กรกฎาคม 2556
อาจารย์เข้าสอน : 08.45 น.
นักศึกษาเข้าเรียน : 08.20 น.
กิจกรรมการเรียน การสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
- นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
วิธีทำ
1. การคิดอย่างมีเหตุ มีผล
2. การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เหลื่อใช้
การนำไปประยุกต์ใช้
1. ใช้ในการจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์ ควบคู่กับ การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์ ในการประดิษฐ์ ตกแต่ง และบอกเหตุผลของความเปลี่ยนแปลง
2. ใช้ในการพัฒนาปรับปรุงสิ่งประดิษฐ์ให้ทันสมัยและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
อาจารย์เข้าสอน : 08.45 น.
นักศึกษาเข้าเรียน : 08.20 น.
กิจกรรมการเรียน การสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
- นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
รถพลังลม
วัสดุอุปกรณ์
1. กระดาษแข็ง 2. หลอดดูดน้ำ
3. ไม้เสียบลูกชิ้น 4. ฝาขวดพาสติก
5. แก้วกระดาษ 6. กาว
7. ดินน้ำมัน 8. เทปกาว
วิธีทำ
1. ตัดหลอดดูดน้ำ 2 หลอดให้ยาวกว่าด้านกว้าง ของกระดาษแข็งเล็กน้อย
2. ติดหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดกับกระดาษแข็ง ด้วยเทปกาว ดังรูป
3. พลิกกระดาษแข็งอีกด้านหนึ่งขึ้นมาติดกับแก้วกระดาษด้วยกาว ดังรูป
4. ใส่ดินน้ำมันลงไปในฝาขวดพลาสติก 4 ฝา เพื่อไว้สำหรับเสียบไม้ลูกชิ้นลงไป ดังรูป
5. เสียบไม้ลูกชิ้นเข้าไปในหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดจากนั้นติดฝาขวดพลาสติกที่ใส่ดินน้ำมันไว้ แล้ว เข้าไปตรงส่วนปลายไม้ที่ยื่นออกมาทั้ง 4 ด้าน ดังรูป
6. ตกแต่งรถพลังลมตามต้องการด้วยวัสดุต่างๆ เช่น กระดุม ตุีกตาไหมพมตัวเล็กๆ หรือกระดาษ ดังรูป
วิธีการเล่น
จำนวนผู้เล่น 2-6 คน
2. ติดหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดกับกระดาษแข็ง ด้วยเทปกาว ดังรูป
3. พลิกกระดาษแข็งอีกด้านหนึ่งขึ้นมาติดกับแก้วกระดาษด้วยกาว ดังรูป
4. ใส่ดินน้ำมันลงไปในฝาขวดพลาสติก 4 ฝา เพื่อไว้สำหรับเสียบไม้ลูกชิ้นลงไป ดังรูป
5. เสียบไม้ลูกชิ้นเข้าไปในหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดจากนั้นติดฝาขวดพลาสติกที่ใส่ดินน้ำมันไว้ แล้ว เข้าไปตรงส่วนปลายไม้ที่ยื่นออกมาทั้ง 4 ด้าน ดังรูป
6. ตกแต่งรถพลังลมตามต้องการด้วยวัสดุต่างๆ เช่น กระดุม ตุีกตาไหมพมตัวเล็กๆ หรือกระดาษ ดังรูป
วิธีการเล่น
จำนวนผู้เล่น 2-6 คน
1. ขีดเส้นสนามแข่งลงบนพื้น อย่าลืม!!! ขีดเส้นจุดเริ่มต้นและเส้นชัยด้วย
2. วางรถพลังลมไว้ที่จุดเริ่มต้น เมื่อได้รับสัญญาณผู้เล่นทุกคนจะต้องเป่าลมเข้าไปในแก้วกระดาษเพื่อให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ((ดูสิว่าใครจะเข้าเส้นชัยเป็นคนแรก))
หลักการทางวิทยาศาสตร์
2. วางรถพลังลมไว้ที่จุดเริ่มต้น เมื่อได้รับสัญญาณผู้เล่นทุกคนจะต้องเป่าลมเข้าไปในแก้วกระดาษเพื่อให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ((ดูสิว่าใครจะเข้าเส้นชัยเป็นคนแรก))
หลักการทางวิทยาศาสตร์
"แรงดันอากาศ" คือ แรงที่เกิดจากอนุภาคของอากาศที่เคลื่อนที่ชนกันเองตลอดเวลาในทุกทิศทาง พุ่งมาชนกับผนังภาชนะ ซึ่งรถพลังลมต้องอาศัยการใช้อากาศโดยที่เราเป่าปากแก้ว เพื่อให้รถพลังลมเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้
ทักษะที่ได้รับ
2. การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เหลื่อใช้
การนำไปประยุกต์ใช้
1. ใช้ในการจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์ ควบคู่กับ การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์ ในการประดิษฐ์ ตกแต่ง และบอกเหตุผลของความเปลี่ยนแปลง
2. ใช้ในการพัฒนาปรับปรุงสิ่งประดิษฐ์ให้ทันสมัยและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)