อาจารย์เข้าสอน : 08.45 น.
นักศึกษาเข้าเรียน : 08.20 น.
กิจกรรมการเรียน การสอน
องค์ความรู้ที่ได้รับ
- นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
รถพลังลม
วัสดุอุปกรณ์
1. กระดาษแข็ง 2. หลอดดูดน้ำ
3. ไม้เสียบลูกชิ้น 4. ฝาขวดพาสติก
5. แก้วกระดาษ 6. กาว
7. ดินน้ำมัน 8. เทปกาว
วิธีทำ
1. ตัดหลอดดูดน้ำ 2 หลอดให้ยาวกว่าด้านกว้าง ของกระดาษแข็งเล็กน้อย
2. ติดหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดกับกระดาษแข็ง ด้วยเทปกาว ดังรูป
3. พลิกกระดาษแข็งอีกด้านหนึ่งขึ้นมาติดกับแก้วกระดาษด้วยกาว ดังรูป
4. ใส่ดินน้ำมันลงไปในฝาขวดพลาสติก 4 ฝา เพื่อไว้สำหรับเสียบไม้ลูกชิ้นลงไป ดังรูป
5. เสียบไม้ลูกชิ้นเข้าไปในหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดจากนั้นติดฝาขวดพลาสติกที่ใส่ดินน้ำมันไว้ แล้ว เข้าไปตรงส่วนปลายไม้ที่ยื่นออกมาทั้ง 4 ด้าน ดังรูป
6. ตกแต่งรถพลังลมตามต้องการด้วยวัสดุต่างๆ เช่น กระดุม ตุีกตาไหมพมตัวเล็กๆ หรือกระดาษ ดังรูป
วิธีการเล่น
จำนวนผู้เล่น 2-6 คน
2. ติดหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดกับกระดาษแข็ง ด้วยเทปกาว ดังรูป
3. พลิกกระดาษแข็งอีกด้านหนึ่งขึ้นมาติดกับแก้วกระดาษด้วยกาว ดังรูป
4. ใส่ดินน้ำมันลงไปในฝาขวดพลาสติก 4 ฝา เพื่อไว้สำหรับเสียบไม้ลูกชิ้นลงไป ดังรูป
5. เสียบไม้ลูกชิ้นเข้าไปในหลอดดูดน้ำทั้งสองหลอดจากนั้นติดฝาขวดพลาสติกที่ใส่ดินน้ำมันไว้ แล้ว เข้าไปตรงส่วนปลายไม้ที่ยื่นออกมาทั้ง 4 ด้าน ดังรูป
6. ตกแต่งรถพลังลมตามต้องการด้วยวัสดุต่างๆ เช่น กระดุม ตุีกตาไหมพมตัวเล็กๆ หรือกระดาษ ดังรูป
วิธีการเล่น
จำนวนผู้เล่น 2-6 คน
1. ขีดเส้นสนามแข่งลงบนพื้น อย่าลืม!!! ขีดเส้นจุดเริ่มต้นและเส้นชัยด้วย
2. วางรถพลังลมไว้ที่จุดเริ่มต้น เมื่อได้รับสัญญาณผู้เล่นทุกคนจะต้องเป่าลมเข้าไปในแก้วกระดาษเพื่อให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ((ดูสิว่าใครจะเข้าเส้นชัยเป็นคนแรก))
หลักการทางวิทยาศาสตร์
2. วางรถพลังลมไว้ที่จุดเริ่มต้น เมื่อได้รับสัญญาณผู้เล่นทุกคนจะต้องเป่าลมเข้าไปในแก้วกระดาษเพื่อให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ((ดูสิว่าใครจะเข้าเส้นชัยเป็นคนแรก))
หลักการทางวิทยาศาสตร์
"แรงดันอากาศ" คือ แรงที่เกิดจากอนุภาคของอากาศที่เคลื่อนที่ชนกันเองตลอดเวลาในทุกทิศทาง พุ่งมาชนกับผนังภาชนะ ซึ่งรถพลังลมต้องอาศัยการใช้อากาศโดยที่เราเป่าปากแก้ว เพื่อให้รถพลังลมเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้
ทักษะที่ได้รับ
2. การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เหลื่อใช้
การนำไปประยุกต์ใช้
1. ใช้ในการจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์ ควบคู่กับ การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์ ในการประดิษฐ์ ตกแต่ง และบอกเหตุผลของความเปลี่ยนแปลง
2. ใช้ในการพัฒนาปรับปรุงสิ่งประดิษฐ์ให้ทันสมัยและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น